
มหาวิทยาลัยขอนแก่น สุดเจ๋ง พัฒนาระบบแจ้งเตือนภัยแผ่นดินไหว KKU Emergency Alert ผ่าน Google Chat พิกัดไม่เกิน 2,000 กิโลเมตร ใน 30 นาที
อ่านฉบับเต็ม : https://www.igreenstory.co/earthquake-6/
#แผ่นดินไหว #แผ่นดินไหวตึกถล่ม #อาฟเตอร์ช็อก #มหาวิทยาลัยขอนแก่น #igreenstory
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) หรือ SME D Bank พร้อมสนับสนุนเอสเอ็มอี เข้าถึงแหล่งทุน นำไปใช้ยกระดับเปลี่ยนผ่านสู่ธุรกิจยุคใหม่ ด้วยโครงการสินเชื่อตามนโยบายรัฐ (Public Service Account : PSA) วงเงินรวม 30,000 ล้านบาท ครอบคลุมทุกกลุ่มธุรกิจเอสเอ็มอี รวมถึง สอดคล้องกับการสนับสนุนอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ โดยมีจุดเด่นอัตราดอกเบี้ยพิเศษเพียง 3%ต่อปี คงที่ตลอด 3 ปีแรก ผ่อนชำระนานสูงสุด 10 ปี ปลอดชำระหนี้เงินต้นสูงสุด 12 เดือน ได้แก่
1.สินเชื่อ “SME Green Productivity” สำหรับสนับสนุนผู้ประกอบการเอสเอ็มอีที่ต้องการติดตั้งระบบอุปกรณ์ ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต เครื่องจักร อุปกรณ์ เพื่อใช้พลังงานสะอาด และมุ่งสู่อุตสาหกรรมสีเขียว เช่น ติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ในอุตสาหกรรมผลิตหรือบริการสีเขียว โรงงาน ร้านอาหาร โรงแรม เพื่อช่วยลดต้นทุนพลังงานในระยะยาว หรือมีกระบวนการผลิตหรือเทคโนโลยีเชื่อมโยงไปสู่อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (EV) วงเงินกู้สูงสุด 10 ล้านบาท
2.สินเชื่อ "ปลุกพลัง SME" สำหรับผู้ประกอบการเอสเอ็มอีรายเล็กที่มีรายได้ต่อปีไม่เกิน 2 ล้านบาท นำไปใช้ลงทุน ขยาย ปรับปรุงกิจการ หรือปรับเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินธุรกิจ รวมถึง หมุนเวียน และเสริมสภาพคล่องในธุรกิจ เช่น ร้านโชห่วย/ขายปลีก ร้านอาหาร ธุรกิจดิจิทัล/อิเล็กทรอนิกส์ ร้านขายยา และแฟรนไชส์รายย่อย เป็นต้น วงเงินกู้ต่อรายสูงสุด 1.5 ล้านบาท
3.สินเชื่อ "Beyond ติดปีก SME" สำหรับผู้ประกอบการเอสเอ็มอีที่มีรายได้ต่อปีมากกว่า 2 ล้านบาทขึ้นไป นำไปเสริมสภาพคล่อง ลงทุน ขยาย ปรับปรุงกิจการ ปรับเปลี่ยนทรัพย์สินหรือเครื่องจักร เพื่อเพิ่มศักยภาพการดำเนินธุรกิจ เช่น เกษตรแปรรูป อาหารเพื่อสุขภาพ โรงแรมที่พัก/ร้านอาหารขนาดใหญ่ ธุรกิจนำเข้าติดตั้งเครื่องจักร ธุรกิจบริการดิจิทัล/อิเล็กทรอนิกส์ แฟรนไชส์ เป็นต้น วงเงินกู้สูงสุด 15 ล้านบาท
ทั้งนี้ ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีสามารถลงทะเบียน SME ONE ID เพื่อยื่นความประสงค์เข้าถึงแหล่งทุนผ่านเว็บไซต์ www.smeone.info
หรือ สามารถแจ้งความประสงค์รับบริการได้ ณ สาขา SME D Bank ทั่วประเทศ หรือช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น LINE Official Account : SME Development Bank และเว็บไซต์ www.smebank.co.th เป็นต้น สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม Call Center 1357
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) หรือ SME D Bank พร้อมสนับสนุนเอสเอ็มอี เข้าถึงแหล่งทุน นำไปใช้ยกระดับเปลี่ยนผ่านสู่ธุรกิจยุคใหม่ ด้วยโครงการสินเชื่อตามนโยบายรัฐ (Public Service Account : PSA) วงเงินรวม 30,000 ล้านบาท ครอบคลุมทุกกลุ่มธุรกิจเอสเอ็มอี รวมถึง สอดคล้องกับการสนับสนุนอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ โดยมีจุดเด่นอัตราดอกเบี้ยพิเศษเพียง 3%ต่อปี คงที่ตลอด 3 ปีแรก ผ่อนชำระนานสูงสุด 10 ปี ปลอดชำระหนี้เงินต้นสูงสุด 12 เดือน ได้แก่
1.สินเชื่อ “SME Green Productivity” สำหรับสนับสนุนผู้ประกอบการเอสเอ็มอีที่ต้องการติดตั้งระบบอุปกรณ์ ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต เครื่องจักร อุปกรณ์ เพื่อใช้พลังงานสะอาด และมุ่งสู่อุตสาหกรรมสีเขียว เช่น ติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ในอุตสาหกรรมผลิตหรือบริการสีเขียว โรงงาน ร้านอาหาร โรงแรม เพื่อช่วยลดต้นทุนพลังงานในระยะยาว หรือมีกระบวนการผลิตหรือเทคโนโลยีเชื่อมโยงไปสู่อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า (EV) วงเงินกู้สูงสุด 10 ล้านบาท
2.สินเชื่อ "ปลุกพลัง SME" สำหรับผู้ประกอบการเอสเอ็มอีรายเล็กที่มีรายได้ต่อปีไม่เกิน 2 ล้านบาท นำไปใช้ลงทุน ขยาย ปรับปรุงกิจการ หรือปรับเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินธุรกิจ รวมถึง หมุนเวียน และเสริมสภาพคล่องในธุรกิจ เช่น ร้านโชห่วย/ขายปลีก ร้านอาหาร ธุรกิจดิจิทัล/อิเล็กทรอนิกส์ ร้านขายยา และแฟรนไชส์รายย่อย เป็นต้น วงเงินกู้ต่อรายสูงสุด 1.5 ล้านบาท
3.สินเชื่อ "Beyond ติดปีก SME" สำหรับผู้ประกอบการเอสเอ็มอีที่มีรายได้ต่อปีมากกว่า 2 ล้านบาทขึ้นไป นำไปเสริมสภาพคล่อง ลงทุน ขยาย ปรับปรุงกิจการ ปรับเปลี่ยนทรัพย์สินหรือเครื่องจักร เพื่อเพิ่มศักยภาพการดำเนินธุรกิจ เช่น เกษตรแปรรูป อาหารเพื่อสุขภาพ โรงแรมที่พัก/ร้านอาหารขนาดใหญ่ ธุรกิจนำเข้าติดตั้งเครื่องจักร ธุรกิจบริการดิจิทัล/อิเล็กทรอนิกส์ แฟรนไชส์ เป็นต้น วงเงินกู้สูงสุด 15 ล้านบาท
ทั้งนี้ ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีสามารถแจ้งความประสงค์รับบริการได้ที่
https://loanrequest.smebank.co.th/Events/Index?id=0026
หรือ ณ สาขา SME D Bank ทั่วประเทศ หรือช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น LINE Official Account : SME Development Bank และเว็บไซต์ www.smebank.co.th เป็นต้น สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม Call Center 1357
สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินได้จัดทำวารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2567) ซึ่งได้รวบรวมผลงานวิจัยและความรู้ทางวิชาการเสร็จสมบูรณ์แล้ว ผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดวารสารผู้ตรวจการแผ่นดินรูปแบบ PDF ได้ที่ http://www.tci-thaijo.org/index.php/ombudsman และสามารถดาวน์โหลดวารสารผู้ตรวจการแผ่นดินฉบับย้อนหลังได้ที่ http://ombstudies.ombudsman.go.th/more_news.php?cid=21&filename=journal_64 สามารถแสดงความคิดเห็นต่อวารสารฯได้ที่ Link นี้ และตอบแบบตอบรับวารสารได้ที่ Link นี้ หรือ QR Code ท้ายหนังสือ รายละเอียดตามเอกสารแนบ
ในยุคออนไลน์ที่ทุกอย่างพร้อมจะกลายเป็นไวรัลได้ในไม่กี่วินาทีนี้ กลยุทธ์การตลาดอย่างหนึ่งที่ถูกนำมาใช้กันมาก ก็คือ “การตั้งชื่อ” ตั้งชื่อยังไงให้แปลก สะดุดหู สะดุดตา ถูกนำไปแชร์บอกต่อ
วันนี้เรามีตัวอย่างร้านชื่อแปลก และที่มา มาให้ลองดูกัน โดยหลายร้านก็เลือกใช้เทคนิคตั้งให้เชื่อมโยงกับธุรกิจ บางร้านก็มาจากสตอรี่ แรงบันดาลใจที่ไม่มีใครรู้มาก่อน บางร้านก็นำมาจากมุกตลกของหนัง มีอะไรบ้าง มาดูกัน
#ตั้งชื่อ #ร้านชื่อแปลก #เทคนิคตั้งชื่อ #ลื้อมันรั้น #ใครขายไข่ไก่คาเฟ่ #ใจสั่นเพราะแกหรือกาแฟวะ #อนันต์จะปั่นชาเย็น #ไม่ว่างย่างอยู่ #ยายทำให้หลานขาย #sme #smethailand #เพื่อนคู่คิดธุรกิจเอสเอ็มอี #เรื่องธุรกิจต้องSMETHAILAND